วันอาทิตย์ที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10


วันพุธที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2560 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

    วันนี้อาจารย์ให้ทำบอร์ดทั้ง 7วัน






การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

     ทำบอร์ดเพื่อเช็คชื่อเด็กหรืออาจทำให้เด็กรู้เกี่ยวกับตัวเลขได้

การประเมินผล

- ประเมินตนเอง

     เข้าเรียนตรงเวลา ช่วยเพื่อนทำงานกลุ่ม ทำบอร์ด

- ประเมินเพื่อน

    เพื่อนช่วยกันทำบอร์ดของกลุ่มตัวเอง

- ประเมินอาจารย์

     อาจารย์ให้ทำบอร์ด พร้อมจัดเตรียมกระดาษและอุปกรณ์ให้

บรรยากาศการเรียน

      มีน้ำใจ ช่วยกันทำบอร์ด แบ่งอุปกรณ์กันยืม

วันอาทิตย์ที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9


วันพุธที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

     รู้เรื่องมิติสัมพันธ์โดยการวาดรูปเลขาคณิตลงบนกระดาษและใช้ไม้กับดินน้ำมันมาทำตามแบบที่วาดไว้ จากนั้นนำของตัวเองมาทำมิติสัมพันธ์กับเพื่อนให้เป็นรูปทรง โดยการออกแบบจะต้องใช้หลักของ STEM โดยให้เด็กได้ลงมือประดิษฐ์ลงมือทำจะทำให้เด็กเรียนรู้ได้ดีขึ้น
- แนวทางที่จะใช้กับเด็ก
  ให้เด็กนับ > สามารถแทนค่าได้โดยใช้เลขฮินดูอารบิก
  ให้เด็กได้คลายจากการอนุรักษ์



- อาจารย์บอกแนวการสอนของแต่ละหัวข้อในการที่จะให้เด็กได้เรียนรู้แต่ละเรื่อง




การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

     ให้เด็กได้สร้างสร้าง ประดิษฐ์ดินน้ำมันมาเป็นรูปต่างๆ จะทำให้เด็กเกิดประสบการณ์ใหม่และต่อยอดเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมา

การประเมินผล

- ประเมินตนเอง

     เข้าเรียนตรงเวลา ช่วยเพื่อนคิดทำรูปทรงให้เป็นมิติสัมพันธ์

- ประเมินเพื่อน

    เพื่อนช่วยกันออกแบบมิติสัมพันธ์ให้เป็นรูปทรงขึ้นมา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน

- ประเมินอาจารย์

     อาจารย์สอนให้คำแนะนำในการออกแบบมิติสัมพันธ์โดยไม่ต้องยึดติดกับรูปแบบเดิม ตอบข้อสงสัยให้กับนักศึกษา

บรรยากาศการเรียน

      แอร์เย็นไปหน่อย

วันอาทิตย์ที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8


วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2560 เวลาเรียน 08.30-12.30 น.


ความรู้ที่ได้รับ

     อาจารย์สอนให้เห็นภาพชัดๆโดยใส่ลูกอมอยู่ในกระปุก ให้ดูว่าเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง เช่น เรื่องการคาดคะเน ประมาณ คาดเดา การนับ จะเป็นเรื่องของมิติสัมพันธ์ ทำให้เด็กรู้จักเลขฐานสิบ วางลูกอมจากซ้ายไปขวาให้เหมือนกับการอ่านภาษาที่จะให้เด็กไม่สับสนกับการอ่านหนังสือในแบบของภาษาไทย การแทนค่าด้วยตัวเลขเมื่อรู้จำนวนนั้น(ใช้เลขมากำกับหรือปักตัวเลข)


                                        ใช้เกณฑ์การแบ่งสี และการอนุรักษ์ที่มีจำนวนเท่ากัน
                                         - มากกว่า - น้อยกว่า
                                         - น้อยกว่า - น้อยกว่าและมากกว่า - มากที่สุด

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

     ให้เด็กได้เรียนรู้คณิตศาสตร์กับของที่เห็นได้ชัด และจากหลายๆวิธีในการแบ่งกลุ่ม

การประเมินผล

- ประเมินตนเอง

     เข้าเรียนตรงเวลา ช่วยเพื่อนทำงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในกลุ่ม

- ประเมินเพื่อน

    เพื่อนช่วยกันออกความคิดเห็น และช่วยกันทำงานกลุ่มของตนเอง

- ประเมินอาจารย์

     อาจารย์สอนให้เห็นถึงของง่ายๆอย่างเช่นลูกอม ก็สามารถนำมาให้เด็กเรียนรู้ได้

บรรยากาศการเรียน

      ร่วมกันทำงานกลุ่มของตนเอง ไม่เสียงดังรบกวนกลุ่มอื่น

วันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2560

วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2560 (หาเกมคณิตศาสตร์)


ชื่อเกมตัวเลขเเทนจำนวน

- อุปกรณ์ที่ใช้ทำ
   1. กระดาษ
   2. ขวดน้ำ
   3. ไม้ตะเกียบ
   4. กาว
   5. กรรไกร
   6. กระดาษลัง

- ลักษณะของสื่อ


















- ขั้นตอนการทำ
   1. หาภาพจาก Google
   2. เลือกภาพและเรียงภาพที่เหมือนกันภายในแผ่นให้มีจำนวนภาพตั้งแต่ 1-10 พร้อมปริ้นท์เลข 1-10
   3. ตัดตัวเลขกับแผ่นภาพทากาวและวางบนกระดาษลังเพื่อให้แข็งแรงมากขึ้น
   4. ใช้ขวดน้ำ 2 ขวด ติดกับหัวท้ายของตะเกียบ
   5. ทำพื้นรองใส่ภาพ และติดตัวเลขกับตะเกียบ

- เด็กได้พัฒนาการอะไรบ้าง
   1. รู้ค่าจำนวน 1-10
   2. ฝึกการนับ
   3. ฝึกประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตา